วงจรนิวแมติก ( Pneumatic Circuit Diagram )

การทำงานแบบต่อเนื่อง โดยมีลำดับการทำงานคือ A+ B+ A- B- เหมาะสำหรับการนำไปประยุกต์ใช้งานในระบบต่างๆ

สัญลักษณ์ของวาล์วควบคุมทิศทางที่อยู่ในตาราง ยังไม่ได้แสดงถึงวิธีการควบคุมวาล์วให้เลื่อนทำงานครับ การบังคับการเลื่อนของวาล์วควบคุมให้ทำงาน

การเขียนวงจรนิวแมติกคือการนำเอาอุปกรณ์ต่างๆมาใช้งานได้อย่างถูกต้องก่อนนำไใช้งานจริงและแบบวงจรจำเป็นต้องใช้สัญลักษณ์มาตรฐานในการใช้งานจริง ระบบนิวเมติกส์ในงานอุตสาหกรรม

กระบอกลมขนาดเท่าไรที่มีความสามารถยกของหนัก 80kg  ที่แรงดันปั๊มลม 5Bar

วิธีการหาค่าความสิ้นเปลืองลม ที่จะนำมาใช้กับอุปกรณ์ในการทำงาน ของอุปกรณ์นิวแมตืก

การออกแบบระบบนิวเมติกการควบคุม กระบอกลมทางเดียวหรือกระบอกลมแบบมีสปริงดันกลับ หรือกระบอกลมแบบซิงเกิ้ลแอ๊คชั้น (air cylinder Single Action) ด้วยสวิทช์ปุ่มกด(กดติดปล่อยดับ) 3/2 (pneumatic cylinder single acting spring return circuit)

การต่อวงจรนิวเมติกควบคุม กระบอกลมทางเดียว กระบอกลมแบบซิงเกิ้ลแอ๊คชั้น (air cylinder Single Action) ควบคุมด้วยสวิทช์ปุ่มกด(กดติดปล่อยดับ) 3/2 แบบมี pilot main valve (pneumatic cylinder single acting spring return circuit)

การต่อวงจรนิวเมติกควบคุม กระบอกลมสองทางหรือกระบอกลมแบบดับเบิ้ลแอ๊คชั้น (air cylinder Double Action) ควบคุมด้วยสวิทช์ปุ่มกด(กดติดปล่อยดับ) 5/2 แบบมี pilot main valve (pneumatic cylinder Double acting circuit)

การต่อวงจรนิวเมติกควบคุม กระบอกลมแบบดับเบิ้ลแอ๊คชั้น (air cylinder Double Action) ควบคุมด้วยสวิทช์ปุ่มกด(กดติดปล่อยดับ) 3/2 แบบมี pilot main valve 5/2 (pneumatic cylinder double acting circuit) ติดตามรายละเอียดได้เลยครับ

การต่อวงจรนิวเมติกควบคุม กระบอกลมสองทางหรือกระบอกลมแบบดับเบิ้ลแอ๊คชั้น แบบปรับความเร็วของกระบอกลมได้โดยใช้ ่ jsc speed control(air cylinder Double Action) ควบคุมด้วยสวิทช์ปุ่มกด(กดติดปล่อยดับ) 5/2 แบบมี pilot main valve (pneumatic cylinder Double acting circuit)

เว็บไซต์นี้มีการใช้งานคุกกี้ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและประสบการณ์ที่ดีในการใช้งานเว็บไซต์ของท่าน ท่านสามารถอ่านรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว  และ  นโยบายคุกกี้